หน่วยงาน คณะครุศาสตร์ ปีงบประมาณ 2565
ประเด็นกลยุทธ์/ตัวชี้วัด สถานะ
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น    
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ที่ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ดำเนินโครงการพัฒนาท้องถิ่นในพื้นที่บริการ
ตัวชี้วัดที่ 3 : อัตราการเพิ่มขึ้นของรายได้ครัวเรือนในพื้นที่การพัฒนาของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของหมู่บ้านในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่มีดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวมชุมชนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัดที่ 5 : จำนวนวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการใหม่ในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่ ประสบความสำเร็จจากการสนับสนุนองค์ความรู้จากมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ตัวชี้วัดที่ 6 : อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากร โดยเฉพาะประชากรในวัยประถมศึกษาในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
ตัวชี้วัดที่ 7 : สัดส่วนจำนวนโครงการบริการวิชาการ หรือโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ในการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี หรือการน้อมนำแนวพระราชดำริสู่การปฏิบัติ รวมถึงการอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของท้องถิ่นเพื่อแก้ไข ลดปัญหาและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ท้องถิ่นและภูมิภาคต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 8 : สัดส่วนจำนวนผลงานทางวิชาการรับใช้สังคมสามารถแก้ไขปัญหาของชุมชนลังคมในพื้นที่ต่อผลงานวิชาการที่ได้ดำเนินการทั้งหมด
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิตและพัฒนาครู    
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของหลักสูตรครุศาสตร์ที่มีการปรับปรุงเพื่อให้บัณฑิตครูของมหาวิทยาลัยราชภัฏมีอัตลักษณ์ สมรรถนะและคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพ พร้อมด้วยคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาและคุณลักษณะครูศตวรรษที่ 21
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของบัณฑิตครูที่สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่สอบบรรจุผ่านเกณฑ์ของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ภายในเวลา 1 ปี
ตัวชี้วัดที่ 3 : มีแพลตฟอร์มเพื่อสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบัณฑิตครู มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางที่เข้าสู่วิชาชีพ
ตัวชี้วัดที่ 4 : ผลงานการวิจัยสาขาวิชาชีพครูที่ได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติและนานาชาติหรือนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิตและพัฒนาครูเพิ่มขึ้นท้องถิ่นในพื้นที่บริการ
ตัวชี้วัดที่ 5 : จำนวนของครูประจำการที่ได้รับการเสริมสมรรถนะเพื่อพัฒนาความเป็นครูมืออาชีพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา    
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของหลักสูตรเชิงสหวิทยาการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 2 : สัดส่วนจำนวนหลักสูตรที่ชุมชน/ปราชญ์ชุมชน ผู้ใช้บัณฑิต องค์กร/หน่วยงานในพื้นที่มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาต่อจำนวนหลักสูตรทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของผลงานของนักศึกษาปริญญาตรี ที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่หรือได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติ
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับใบรับรองวิชาชีพตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพในสาขาที่สำเร็จการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 6 : อัตราการได้งานทำ ทำงานตรงสาขา ประกอบอาชีพอิสระทั้งในพื้นที่และภูมิภาคและนอกพื้นที่และภูมิภาค ภายในระยะเวลา 1 ปี
ตัวชี้วัดที่ 7 : ผลการประเมินสมรรถนะของบัณฑิตโดยสถานประกอบการผู้ใช้บัณฑิต
ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละของผลงานของอาจารย์ที่ได้รับการตีพิมพ์ เผยแพร่หรือได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ    
ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนอาจารย์ และบุคลากร และศิษย์เก่า ที่ได้รับรางวัลในระดับชาตินานาชาติ
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภายในและต่างประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 4 : ผลสำรวจความคิดเห็น ความพึงพอใจของประชาชน และผู้รับบริการที่มีต่อมหาวิทยาลัย
     


หน่วยงาน
สถานะการเบิกจ่ายงบประมาณ
สำนักงานคณบดี คณะครุศาสตร์
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (ค.บ.)
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์(ค.บ.)
ศูนย์การศึกษาพิเศษ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ(ตชด.)
สาขาวิชาภาษาไทย
สาขาวิชาจิตวิทยาและการแนะแนว
ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะครุศาสตร์
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู

ร้อยละผลสำเร็จ
เมื่อเทียบกับเป้าหมาย
/ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ
100-81% 80-61% 60-41% 40-21% 20-0%