หน่วยงาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีงบประมาณ 2562
ประเด็นกลยุทธ์/ตัวชี้วัด สถานะ
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 1 การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและตอบสนองกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลาย    
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละการมีงานทำของบัณฑิต
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของบัณฑิตที่ทำงานตรงและสัมพันธ์กับสาขาที่เรียน
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนศิษย์เก่าที่สร้างชื่อเสียง คุณงามความดี เป็นที่ยอมรับในระดับท้องถิ่นหรือประเทศชาติในแต่ละปี
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับการประเมินความพึงพอใจด้านอัตลักษณ์จากผู้ใช้บัณฑิต ในระดับดี
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาด้านอัตลักษณ์
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อบัณฑิตมหาวิทยาลัย
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 7 : ร้อยละความพึงพอใจของของบัณฑิตต่อการจัดการเรียนการสอนและการให้บริการของมหาวิทยาลัยกำหนด
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 10 : ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายสอบผ่านทักษะภาษาอังกฤษตามมาตรฐานที่กำหนด
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 11 : ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่สอบผ่านทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานที่กำหนด
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 13 : จำนวนนักศึกษาคงอยู่
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 14 : จำนวนหลักสูตรที่เป็นที่ต้องการของผู้เรียน ทันสมัย ตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น และประเทศ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 15 : ร้อยละของหลักสูตรที่มีจำนวนนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของแผนการรับนักศึกษา
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 20 : ร้อยละของนักศึกษาครูที่สอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับจาก สกอ.ต่อนักศึกษาครูทั้งหมด เพื่อที่จะเข้าสู่การผลิตครูระบบปิด
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 21 : ร้อยละของบัณฑิตที่ประกอบอาชีพครูหรือบุคลากรทางการศึกษา ต่อบัณฑิตครูที่สำเร็จในแต่ละปีการศึกษา
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 23 : ร้อยละหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มีการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการกับการวิจัย บริการวิชาการ และศิลปวัฒนธรรม
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 การวิจัยพัฒนาและแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ    
ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนโครงการวิจัยเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี การแก้ไขปัญหา หรือการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นต่อปี
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นนักวิจัยเชิงพื้นที่มืออาชีพต่อจำนวนอาจารย์
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติหรือนานาชาติ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 3 การบริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนแก่ชุมชนท้องถิ่น    
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติ ที่ให้บริการแก่ ชุมชน ท้องถิ่น
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนหลักสูตรการอบรมและศึกษาต่อเนื่อง
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย
ตัวชี้วัดที่ 6 : สัดส่วนรายได้จากการบริการวิชาการต่อเงินรายได้
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ยั่งยืน    
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละของนักศึกษาที่เรียนหรือเข้าร่วมกิจกรรมหรือมีส่วนในการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมของจังหวัดลำปาง
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนฐานข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาลำปาง
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ตัวชี้วัดที่ 4 : จำนวนผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่สะท้อนเอกลักษณ์และศิลปะและวัฒนธรรมล้านนา
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาและสื่อสารองค์กร
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 5 การบริหารและพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้    
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการอบรมพัฒนาตามตำแหน่งในแต่ละปี
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละอาจารย์ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละอาจารย์ที่มีตำแหน่งวิชาการ
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละบุคลากรที่สร้างผลงานเป็นที่ยอมรับและมีชื่อเสียงในระดับชาติหรือนานาชาติ
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
ตัวชี้วัดที่ 10 : ร้อยละหน่วยงานที่มีระบบการจัดการความรู้ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพ
หัวหน้าสำนักงานคณบดี
ตัวชี้วัดที่ 11 : ร้อยละของการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในทุกระบบงาน
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
ตัวชี้วัดที่ 12 : ร้อยละความพึงพอใจด้านการบริหารจัดการ ด้านอาคารสถานที่ ของบุคลากร และผู้รับบริการ
หัวหน้าสำนักงานคณบดี
ตัวชี้วัดที่ 13 : คะแนนผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะและมหาวิทยาลัย
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 6 การสร้างความมั่นคงและแสวงหารายได้    
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละการเพิ่มขึ้นของเงินรายได้การบริหารสินทรัพย์เทียบกับปีที่ผ่านมา
รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน
     


หน่วยงาน
สถานะการเบิกจ่ายงบประมาณ
สำนักงานคณบดี คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ
สาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.)
สาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสารทางธุรกิจฯ
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ(ศศ.บ.)
สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน
สาขาวิชาดนตรี
สาขาวิชาภาษาจีน(ศศ.บ.)
สาขาวิชาสังคมศึกษา
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
สาขาวิชานิติศาสตร์
สาขาวิชาการบริหารและการพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท(ป.โท)
สาขาวิชายุทธศาสตร์และการพัฒนา (ป.โท)
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับชาวต่างประเทศ
สาขาวิชาภาษาจีน(ค.บ.)
สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง
สาขาวิชาภาษาไทย (ปร.ค.) (ป.เอก)

ร้อยละผลสำเร็จ
เมื่อเทียบกับเป้าหมาย
/ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ
100-81% 80-61% 60-41% 40-21% 20-0%