หน่วยงาน คณะเทคโนโลยีการเกษตร ปีงบประมาณ 2563
ประเด็นกลยุทธ์/ตัวชี้วัด สถานะ
ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 1 การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตอบสนองกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลาย    
ตัวชี้วัดที่ 1 : ร้อยละการมีงานทำของบัณฑิต
ประธานสาขาวิชา
ตัวชี้วัดที่ 2 : อัตราการได้งานทำในพื้นที่หรือภูมิภาคของนักศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของบัณฑิตที่ทำงานตรงและสัมพันธ์กับสาขาที่เรียน
ประธานสาขาวิชา
ตัวชี้วัดที่ 4 : จำนวนศิษย์เก่าที่สร้างชื่อเสียง คุณงามความดี เป็นที่ยอมรับในระดับท้องถิ่นหรือประเทศชาติในแต่ละปี
ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาด้านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาฯ
ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับการพัฒนาคุณลักษณะคนไทย ๔ ประการ
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาฯ
ตัวชี้วัดที่ 7 : จำนวนหลักสูตรที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัยและหลักสูตรใหม่ในรูปแบบสหวิทยาการที่ตอบสนองต่อการพัฒนาท้องถิ่นและสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละผลงานของนักศึกษาปีสุดท้ายที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่หรือได้รับรางวัลในระดับชาติและนานาชาติ*(นักศึกษาปริญญาตรี)
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละของนักศึกษาที่ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ/มาตรฐานวิชาชีพ/การรับรองคุณภาพวิชาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่สำเร็จการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 10 : ระดับความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตามมาตรฐาน CEFR หรือเทียบเท่าตามมาตรฐานสากลอื่นๆ
ประธานสาขาวิชา
ตัวชี้วัดที่ 11 : ระดับคะแนนเฉลี่ยการประเมินสมรรถนะของบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ(TQF) โดยสถานประกอบการผู้ใช้บัณฑิต
ประธานสาขาวิชา
ตัวชี้วัดที่ 12 : ร้อยละของนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายที่สอบผ่านทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศตามมาตรฐานที่กำหนด
ประธานสาขาวิชา
ตัวชี้วัดที่ 13 : ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของบัณฑิตต่อการจัดการเรียนการสอนและการให้บริการของมหาวิทยาลัยกำหนด
ประธานสาขาวิชา
ตัวชี้วัดที่ 14 : ร้อยละการคงอยู่ของนักศึกษาเทียบกับปีที่ผ่านมา
ประธานสาขาวิชา
ตัวชี้วัดที่ 15 : จำนวนนักศึกษาภาคพิเศษ
ตัวชี้วัดที่ 16 : ร้อยละของจำนวนหลักสูตรเชิงพื้นที่ต่อจำนวนหลักสูตรทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 17 : จำนวนหลักสูตร EP หรือ IP
ตัวชี้วัดที่ 18 : จำนวนหลักสูตรสำหรับการรองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัดที่ 19 : ร้อยละของจำนวนหลักสูตร Upskill/Reskill/Life Long Leanning ต่อจำนวนหลักสูตรทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 23 : ร้อยละหลักสูตรระดับปริญญาตรีที่มีการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการกับการวิจัย บริการวิชาการ และศิลปวัฒนธรรม
ประธานสาขาวิชา
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 2 การวิจัยพัฒนาและแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ    
ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนชุมชนที่มีความเข้มแข็งยั่งยืนจากการได้รับประโยชน์จากงานวิจัยหรือนวัตกรรมของมหาวิทยาลัย
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 2 : จำนวนศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยที่ได้รับการยอมรับ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 3 : จำนวนงานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 4 : จำนวนงานวิจัยหรือนวัตกรรมที่จดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา หรือนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 5 : จำนวนงานวิจัยหรือนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและศักยภาพของชุมชนท้องถิ่น
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 6 : ร้อยละของการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติหรือนานาชาติ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 7 : ร้อยละของจำนวนผลงานวิชาการรับใช้สังคมต่อจำนวนผลงานวิชาการทั้งหมด
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 3 การบริการวิชาการเพื่อสร้างความเข้มแข็งยั่งยืนแก่ชุมชนท้องถิ่น    
ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละสะสมของจำนวนหมู่บ้านที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเข้าดำเนินโครงการพัฒนาเปรียบเทียบกับจำนวนหมู่บ้านทั้งหมดในพื้นที่บริการ
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 3 : อัตราเพิ่มขึ้นของรายได้ครัวเรือนในพื้นที่การพัฒนาของมหาวิทยาลัย
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของหมู่บ้านที่มีดัชนีชี้วัดความสุขมวลรวมชุมชนเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัดที่ 5 : จำนวนวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการใหม่ในพื้นที่บริการที่ประสบความสำเร็จจากการสนับสนุนองค์ความรู้จากมหาวิทยาลัย
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 7 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวกับการน้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษา เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์ทั้ง ๔ ประการ สู่การปฏิบัติในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดที่ 8 : จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการศึกษา ที่ให้บริการแก่ ชุมชน ท้องถิ่น
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 9 : จำนวนหลักสูตรการอบรมและศึกษาต่อเนื่อง
รองคณบดีฝ่ายวิชาการและบริการวิชาการ
ตัวชี้วัดที่ 10 : ร้อยละของจำนวนโครงการด้านการบริการวิชาการหรือโครงการที่ตอบสนอง Area Based ต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 11 : จำนวนบุคคลหรือหน่วยงานในชุมชนพื้นที่ที่เข้าร่วมโครงการหรือกิจกรรมเพื่อแก้ไข/ลดปัญหา/ส่งเสริมเรียนรู้ของชุมชน สังคมเฉลี่ยต่อจำนวนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อแก้ไข/ลดปัญหา/ส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 12 : ร้อยละของจำนวนเงินจากภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคมในพื้นที่ต่องบดำเนินการทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 13 : จำนวนโครงการส่งเสริมสืบสานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาฯ
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ยั่งยืน    
ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละของนักศึกษาที่เรียนหรือเข้าร่วมกิจกรรมหรือมีส่วนในการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรม
รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาฯ
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 5 การบริหารและพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้    
ตัวชี้วัดที่ 1 : ระดับการบรรลุความสำเร็จของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยตามตัวชี้วัดวิสัยทัศน์
รองคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 3 : ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านการบริการ และบริหารจัดการของบุคลากร และผู้รับบริการ
หัวหน้าสำนักงานคณบดี
ตัวชี้วัดที่ 4 : จำนวนบุคลากรที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือนานาชาติ
ตัวชี้วัดที่ 5 : คะแนนผลการประเมินมหาวิทยาลัยโดยคณะกรรมการประเมินมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดที่ 6 : คะแนนผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะและมหาวิทยาลัย
รองคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ 7 : ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ในองค์กร
หัวหน้าสำนักงานคณบดี
ตัวชี้วัดที่ 9 : ระดับประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการบริหารงานภาครัฐอยู่ในระดับสูงหรือสูงมาก
คณบดี
ประเด็นกลยุทธ์ที่ 6 การบริหารทรัพย์สินและสร้างรายได้แก่องค์กร    
     


หน่วยงาน
สถานะการเบิกจ่ายงบประมาณ
สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีการเกษตร
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
สาขาวิชานวัตกรรมและธุรกิจอาหาร
ศูนย์การเรียนรู้เกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดำริ

ร้อยละผลสำเร็จ
เมื่อเทียบกับเป้าหมาย
/ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ
100-81% 80-61% 60-41% 40-21% 20-0%